สิทธิส่วนบุคคลบนโลกออนไลน์ที่ผู้ใช้ควรรู้

ในยุค 4.0 ที่สื่อมีอิทธิพลมากในชีวิตประจำวัน การรับรู้ข่าวสารส่วนใหญ่จึงมาจากโลกออนไลน์ที่ถูกแชร์ไปอย่างรวดเร็ว แต่ถ้าโพสต์ผิดแชร์ผิดชีวิตเปลี่ยนไปทันที เพราะตอนนี้มีกฎหมาย พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ บังคับใช้อย่างจริงจังเพื่อคุ้มครองความปลอดภัยต่อชีวิต ทรัพย์สิน ต่อผู้ที่ถูกกล่าวหาบนโลกออนไลน์ ว่าด้วยเรื่องของ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ ปี 2560 ประกาศลงราชกิจจานุเบกษา มีผลบังคับใช้ตั้งแต่เดือนพฤษภาคม 2560 เป็นต้นมา ไม่ใช่เรื่องไกลตัวของคนโซเชียลอีกแล้ว ถ้าเผลอโพสต์และแชร์ในลักษณะใส่ร้ายคนอื่นโดยเรื่องเท็จต้องระวังคุกและค่าปรับ

rightspersonal

กฎหมายสิทธิส่วนบุคคลที่ทุกคนควรรู้มีอะไรบ้าง

เมื่อเราเกิดมาในประเทศที่ปกครองตามระบอบประชาธิปไตยเรื่องของสิทธิส่วนบุคคลจึงเป็นสิ่งที่ทุกคนพึงจะได้รับ คำว่าสิทธิส่วนบุคคลหากแปลให้เข้าใจความหมายแบบง่ายๆ ก็คือการมีสิทธิพึงกระทำในสิ่งอันเหมาะสม โดยสิ่งที่กระทำนั้นต้องไม่สร้างความเดือดร้อนต่อตนเอง และผู้อื่น อีกทั้งสิทธิที่ตนเองทำจะต้องอยู่ภายใต้กฎหมายอันมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุด หากทำตามนี้นั่นหมายถึงทุกคนมีสิทธิทำในสิ่งที่เหมาะสมได้หมดทุกเครื่อง กระนั้นก็ยังมีกฎหมายด้านสิทธิส่วนบุคคลที่ควรรู้อยู่หลายเรื่องเหมือนกันเพื่อจะได้ทำตามอย่างถูกต้อง กฎหมายสิทธิส่วนบุคคลที่ทุกคนควรรู้ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ส่วนที่ 3 สิทธิและเสรีภาพของบุคคลมาตรา 35 เรื่องราวเกี่ยวกับสิทธิส่วนบุคคลภายในครอบครัว, เกียรติยศ, ชื่อเสียง รวมถึงเรื่องของความเป็นส่วนตัวย่อมต้องได้รับความคุ้มครองจากการกล่าวหรือไขข่าวแพร่

rightspersonal

รู้ไว้ใช่ว่า กฎหมายสิทธิส่วนบุคคลที่เราชาวไทยพึงมี

ความหมายของสิทธิ คำว่า สิทธิ เป็นสิ่งที่ประชาชนผู้ซึ่งระบุสัญชาติไทยพึงได้รับทั่วถึงกันตามกฎหมาย เป็นเกราะป้องกันจากสิ่งที่ไม่ยุติธรรมและมีความเป็นขอบเขตที่กล่าวถึงสิ่งที่ประชาชนพึงกระทำ ไม่พึงกระทำให้ถูกต้องตามหลักกฎหมายและศีลธรรม โดยมีลายลักษณ์อักษรกำหนดไว้ตามกฎหมายรัฐธรรมนูญ ประชาชนมีเสรีภาพที่จะใช้สิทธิที่มีนั้นตามอิสระ ไม่อยู่ภายใต้อิทธิพลหรือการบังคับใด ๆ โดยสามารถแบ่งสิทธิของประชาชนตามกฎหมายรัฐธรรมนูญได้ ดังนี้ – สิทธิความเป็นมนุษย์ ตั้งแต่ลืมตาถือกำเนิดขึ้นมาเราทุกคนถือว่ามีสิทธิความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกันหมด และมีสิทธิที่จะกระทำการใด ๆ ที่ถือเป็นการดำรงชีวิตของมนุษย์ได้ตราบใดที่ไม่ผิดต่อข้อกฎหมาย เช่น การมีบ้าน

rightspersonacom5

จุดกำเนิดของกฎหมายด้านสิทธิส่วนบุคคล

ทำไมคำว่าสิทธิส่วนบุคคล และสิทธิมนุษย์ชนถึงมีความสำคัญนักในปัจจุบันนี้ คงต้องกล่าวย้อนไปถึงเมื่อหลายร้อยปีก่อน ตั้งยุคที่คำว่าเสรีภาพยังไม่ค่อยจะแพร่หลาย มีการเขียนจดหมายขู่ การแบล็คเมล์ และสิ่งต่าง ๆ มากมายที่เป็นการละเมิดเสรีภาพส่วนบุคคล แต่สมัยนั้นกฎหมายอ่อนแอ ยังไม่มีการพัฒนาเหมือนสมัยปัจจุบันนี้ ถ้าหากเราไร้การคุ้มครองจากกฎหมายสิทธิส่วนบุคคลเหล่านี้ พวกมิจฉาชีพ หรือเหล่าผู้ไม่หวังดีต่าง ๆ จะมีช่องทางในการทำเรื่องชั่ว ๆ ที่อาจเกิดความเสียหายแก่ทรัพย์สิน และชีวิตของเราได้โดยไม่ผิดกฎหมาย ซึ่งในเวลาต่อมา

rightspersonal-3

ความสำคัญของสิทธิส่วนบุคคล

ความส่วนตัวถือเป็นเรื่องที่สำคัญอย่างยิ่งในชีวิต คงไม่มีใครที่อยากให้มีคนมาแอบตาม แอบถ่ายรูป หรือ กระทำการใด ๆ ก็ตามแต่ ที่เราไม่เห็นชอบด้วย จึงถือกำเนิดคำว่า “สิทธิส่วนบุคคล” ขึ้นมา ซึ่งคำนี้ก็มีกฎหมายตามขึ้นมาควบคุมอีกที “right to privacy” หรือ สิทธิส่วนบุคคล ซึ่งยึดถือตามกฎแห่งธรรมชาติ “Natural and

rightspersonal-1

กฎหมายด้านสิทธิส่วนบุคคลมีอะไรบ้าง

กฎหมายด้านสิทธิส่วนบุคคลนั้น มีอยู่ด้วยกันหลายมาตรา โดยเริ่มตั้งแต่มารตราที่ 35 และ 326 จนถึง 329 โดยจะเป็นส่วนของเรื่องความปลอดภัยส่วนบุคคล ความผิดในฐานหมิ่นประมาท และการใส่ร้าย หรือแสดงความคิดเห็น หรือเขียนข้อความใดก็ตามที่ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคล โดยกล่าวไว้ใน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 35 มาตรา